ข้อมูลส่วนตัว [ID : 192731] (ปรับปรุงประวัติล่าสุดเมื่อ 6 เม.ย. 2552) (หางานครั้งล่าสุดเมื่อ 6 เม.ย. 2552) |
ชื่อ - นามสกุล : |
ไม่เปิดเผย |
 |
วันเกิด : |
7 กุมภาพันธ์ 2525 / อายุ 43 ปี |
ส่วนสูง : |
ส่วนสูง : 168 ซม. น้ำหนัก : 57 กิโลกรัม |
เพศ : |
ชาย |
สถานะสมรส : |
โสด |
สัญชาติ : |
ไทย |
ศาสนา : |
พุทธ |
สถานะภาพทางทหาร : |
พ้นภาระทางทหารแล้ว |
ข้อมูลในการติดต่อ |
E-mail : |
ไม่เปิดเผย |
ที่อยู่ : |
ไม่เปิดเผย |
จังหวัด : |
นครราชสีมา |
รหัสไปรษณีย์ : |
ไม่เปิดเผย |
โทรศัพท์ : |
ไม่เปิดเผย |
มือถือ : |
ไม่เปิดเผย |
Fax : |
ไม่เปิดเผย |
ความพร้อมในการเริ่มงาน |
พร้อมทำงาน : |
เริ่มทำงานได้เลย |
สถานะการทำงาน : |
ว่างงาน |
ประวัติการศึกษา |
ปัจจุบัน : |
จบการศึกษาแล้วในปี พศ. 2547 |
1. การศึกษาสูงสุด |
ระดับการศึกษา : |
ปวส. |
ชื่อสถานศึกษา : |
วท.เทคนิคขอนแก่น |
วุฒิการศึกษา : |
ปวส |
สาขาวิชา : |
ไฟฟ้ากำลัง |
เกรดเฉลี่ย (GPA.) : |
3.01 |
ตำแหน่งงานที่ท่านสนใจ |
สาขาวิชาที่ได้ศึกษามา : |
ช่างอิเลคโทรนิค - ช่างไฟฟ้า - ช่างคอมพิวเตอร์ |
ประเภทงานที่สนใจ : |
1. โรงงาน - การผลิต - ควบคุมคุณภาพ 2. ช่างอิเลคโทรนิค - โลหะ - เครื่องยนต์ - อื่นๆ 3. โปรแกรมเมอร์ - คอมพิวเตอร์ - IT |
ตำแหน่งงานที่สนใจ : |
1. ช่างไฟฟ้า 2. ช่างซ่อมบำรุง 3. หัวหน้างาน |
ลักษณะงานที่ต้องการ : |
งานประจำ (Full Time) งานนอกเวลา (Part Time) งานอิสระ (Freelance) งานสำหรับนักศึกษาฝึกงาน (training)
|
ระดับเงินเดือนที่ต้องการ : |
12000 บาท |
ประวัติการทำงาน |
ประสบการณ์ทั้งหมด : |
5 ปี |
1. ประสบการณ์ทำงาน |
เริ่มจาก : |
พฤษภาคม 2547 ถึง ธันวาคม 2551 |
บริษัท : |
ไม่เปิดเผย |
ที่อยู่บริษัท : |
1/2 ต ท่าตูม อ ศรีมหาโพธิ์ จ ปราจีนบุรี 25140 |
ตำแหน่ง : |
ช่างซ่อมบำรุงไฟฟ้า |
เงินเดือน : |
ไม่เปิดเผย บาท |
ลักษณะงานที่ทำ : |
หน้าที่และความรับผิดชอบ :
- ปฎิบัติตามกฎระเบียบและนโยบายของฝ่ายและบริษัท
- ดำเนินงานบำรุงรักษา ซ่อมแซมและปรับปรุงเครื่องจักรเพื่อให้เครื่องจักรทำงานได้อย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ
- เลือกใช้วัสดุสิ้นเปลืองและอะไหล่ที่ถุกต้องและเหมาะสมกับเครื่องจักร
- เก็บรวบรวมข้อมูลและประวัติเครื่องจักร ที่เกี่ยวข้องกับงานบำรุงรักษาและซ่อมแซม
- รายงานการบำรุงรักษาและซ่อมแซมเครื่องจักร รวมไปถึงข้อขัดข้องของเครื่องจักร ปัญหาอุปสรรคและการแก้ไขให้กับหัวหน้าหน่วยงานซ่อมบำรุงในพื้นที่ที่เข้าไปทำงาน
- ทำงานด้วยความปลอดภัย และรักษาสิ่งแวดล้อมในการทำงาน รวมถึงดำเนินกิจกรรมที่จะพัฒนาองค์กรให้เจริญก้าวหน้ายิ่งขึ้น
- ปฎิบัติหน้าที่อื่นๆตามที่ได้รับมอบหมายจากผู้บังคับบัญชา
หน้าที่หลัก
- ดำเนินงานบำรุงรักษา ซ่อมแซมและปรับปรุงเครื่องจักรตามที่ได้รับมอบหมาย
- รายงานผลการบำรุงรักษา ซ่อมแซมและปรับปรุงเครื่องจักร ปัญหาและการแก้ไขต่างๆให้หัวหน้าหน่วยงานซ่อมบำรุง
- ทำงาน PM เครื่องจักรที่ได้รับมอบหมาย
- ลงบันทึกข้อมูล ประวัติการเสียหายและการซ่อมแซมเครื่องจักรและเวลาในการปฎิบัติงานในแต่ละวัน
- ปฎิบัติหน้าที่อื่นๆ ตามที่ได้รับมอบหมายจากผู้บังคับบัญชา
|
ประวัติการฝึกอบรม |
1. ประวัติการฝึกอบรม |
เริ่มจาก : |
กุมภาพันธ์ 2548 ถึง มีนาคม 2548 |
สถาบัน : |
บ. Advance agro |
หลักสูตร : |
Profibus Training |
2. ประวัติการฝึกอบรม |
เริ่มจาก : |
พฤษภาคม 2549 ถึง พฤษภาคม 2549 |
สถาบัน : |
บ. Advance agro |
หลักสูตร : |
AS-I Master & safety monitor Training |
3. ประวัติการฝึกอบรม |
เริ่มจาก : |
สิงหาคม 2550 ถึง สิงหาคม 2550 |
สถาบัน : |
บ. Advance agro |
หลักสูตร : |
SIMATIC Manager Siemens PLC S7 |
ความสามารถ |
ความสามารถทางภาษา |
ภาษา |
พูด |
อ่าน |
เขียน |
1. ภาษาไทย |
ดีมาก |
ดีมาก |
ดีมาก |
2. ภาษาอังกฤษ |
ดี |
ดี |
ดี |
ความสามารถอื่นๆ |
พิมพ์ดีด : |
ภาษาไทย 33 คำ/นาที ภาษาอังกฤษ 23 คำ/นาที |
ความสามารถในการขับขี่ : |
รถจักรยานยนต์ , |
ยานพาหนะส่วนตัว : |
รถจักรยานยนต์ , |
ความสามารถพิเศษอื่นๆ : |
ทักษะและความสามารถพิเศษอื่นๆ :
สามารถพูด อ่าน เขียน ภาษาอังกฤษได้
สามารถอ่านแบบวงจรไฟฟ้าและนิวแมติกส์ได้
สามารถอ่านแบบวงจรไฟฟ้าและนิวแมติกส์ที่ควบคุมด้วย PLCได้
สามารถแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นกับเครื่องจักรได้ที่ควบคุมด้วย PLC ได้
มีความเข้าใจการรับส่งข้อมูลที่ใช้ระบบ บัสเชื่อมต่อ เช่น profibus,AS-I bus
มีความเข้าใจในระบบไฟฟ้าและระบบควบคุมทางไฟฟ้า
สามารถใช้โปรแกรม SIMATIC Manager PLC S7 ได้
สามารถควบคุมเครื่องจักรในโรงงานอุตสาหกรรมได้
สามารถใช้อุปกรณ์ตรวจ check พื้นฐานทางไฟฟ้าได้
สามารถใช้ Inverter siemen Micromaster 440 ได้
สามารถเชื่อมไฟฟ้าได้
สามารถใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ Microsoft Office,Visio,Excle และระบบปฎิบัติการ windows ได้
|
โครงการ - ผลงาน - เกียรติประวัติ - บุคคลอ้างอิง |
โครงการ - ผลงาน - เกียรติประวัติ : |
แบบฟอร์มนำเสนออนุมัติโครงการ
Project Improvement Contest 2551
ชื่อโครงการ เพิ่ม Speed Conveyor ก่อนเข้าตัวพลิกรีม
ชื่อทีม Converting Cut Size 5
สมาชิก
1. ชื่อ นายอาทิตย์ นามสกุล สุขทั่ว หน่วยงาน Converting Cut Size5 หน ทีม
2. ชื่อ นายพรเทพ นามสกุล พิภพ หน่วยงาน Converting Cut Size5 สมาชิก
3. ชื่อ นายวิเรศ นามสกุล เสริมชื่อ หน่วยงาน Converting Cut Size5 สมาชิก
4. ชื่อ นายประวิทย์ นามสกุล ร้อยสา หน่วยงาน Converting Cut Size5 สมาชิก
5. ชื่อ นายสุวิทย์ นามสกุล สิทธิพล หน่วยงาน Converting Cut Size5 สมาชิก
วัตถุประสงค์
1. เพื่อเป็นการเพิ่มกำลังการผลิตให้กับเครื่องจักรได้ 100 %
2. เพื่อเป็นการลด Down Time ของเครื่องจักร
3. เพื่อเป็นการเพิ่มมูลค่าในการผลิตให้ได้ตามเป้า 100 % เต็ม
หลักการและเหตุผล
ในปัจจุบันเครี่องตัดกระดาษ Cut Size5 ไม่สามารถที่จะเดิน Speed ได้ 100% เต็ม เนื่องจากติดปัญหาที่ตัวพลิกรีม ที่ไม่สามารถพลิกรีมได้ทัน เมื่อเดินเครื่อง Sheeter Speed ที่ 400 เมตร/นาที
สาเหตุเกิดจากชุด Conveyor ที่ออกมาจาก CSD ก่อนเข้าตัวพลิกรีมเป็นแบบ direct speed คือไม่สามารถปรับ Speed เพิ่มขึ้นได้ ทำให้ตัวพลิกรีม ทำงานไม่ทัน ซึ่งส่งผลต่อคุณภาพและจำนวน Production ของกระดาษ
ดังนั้น ทางฝ่ายซ่อมบำรุง Cut size # 5 จึงได้ทำการ Modified ชุด Gear motor ขับสายพาน Conveyor ใหม่เพื่อให้สามารถเพิ่ม Speed ให้กับชุด Conveyor
สภาพปัจจุบัน
สายพาน Conveyor เดิม
CSD
สายพาน Conveyor ก่อนเข้าตัวพลิกรีม
จากเดิม Speed ของสายพาน Conveyor ก่อนเข้าตัวพลิกรีม จะใช้ Motor ที่เป็นแบบ direct speed ในการขับสายพาน ทำให้สายพานมี Speed ที่คงที่ ดังนั้นเมื่อทำการเดินเครื่องจักรที่ ความเร็วเกิน 350 m/min จะทำให้ตัวพลิกรีมทำงานไม่ทัน
แนวทางการแก้ไข หรือปรับปรุง
ทำการ Modified ใหม่
CSD
Speed ของสายพานเพิ่มขึ้น
เมื่อทำการ Modified ใหม่ โดยทำการเปลี่ยนชุด Motor ขับสายพานที่สามารถปรับ Speed ได้ ทำให้สามารถเพิ่มความเร็วของสายพานก่อนเข้าตัวพลิกรีม ส่งผลทำให้ระยะห่างระหว่างแต่ละรีมที่ออกมาจากชุด CSD มีระยะเพิ่มขึ้น ทำให้ตัวพลิกรีมสามารถพลิกรีมได้ทัน เมื่อเดินเครื่องที่ Max speed 400 m/min
เป้าหมาย
เครื่องจักรสามารถผลิตได้เต็มกำลัง 100 % (ตัวพลิกรีมสามารถทำงานได้ทัน ในช่วงที่เครื่องจักรเดินที่ Max speed )
งบประมาณ + ค่าใช้จ่าย
Drive Siemens Micromaster 440 ราคา 16,500 บาท
Motor gear SEW Eurodrive R17DT80N4 ราคา 11,700 บาท
ชุดโซ่ขับ ราคา บาท
Sprocket ราคา บาท
การคิดมูลค่า Payback &Save cost
ก่อนการติดตั้งชุด Drive Up Speed
เครื่องรีมจะเดิน Product ได้ประมาณ 65 รีม/นาที
1 ชั่วโมง จะได้ Product 65 x 60 = 3900 รีม
24 ชั่วโมง จะได้ Product 3900 x 24 = 93,600 รีม
รีมที่ขายออกราคารีมละ 95 บาท คิดเป็นเงิน 93,600 x 95 = 8,892,000 บาท
รวมการผลิตทั้งสองLineการผลิต คิดเป็นเงิน 8,892,000 x 2 = 17,784,000 บาท/24ชั่วโมง
หลังจากการติตตั้งชุด Drive Up Speed แล้ว
เครื่องรีมจะเดิน Product ได้ประมาณ 95 รีม/นาที
1 ชั่วโมง จะได้ Product 95 x 60 = 5,700 รีม
24 ชั่วโมง จะได้ Product 5,700 x 24 = 136,800 รีม
รีมที่ขายออก ราคารีมละ 95 บาท โดยประมาณ คิดเป็นเงิน 136,800 x 95 = 12,996,000 บาท
รวมการผลิตทั้งสองLineการผลิต คิดเป็นเงิน 12,996,000 x 2 = 25,992,000 บาท/24ชั่วโมง
ดังนั้นใน 1 วัน สามารถเพิ่มมูลค่าการผลิตได้ คิดเป็นเงิน 25,992,000 - 17,784,000 = 8,208,000 บาท
ระยะเวลาดำเนินการ
ขั้นตอนในการดำเนินงาน
1. จัดเตรียมชุด Drive Control และ Motor ตัวใหม่ที่สามารถปรับ Speed ได้
Gear motor ที่จะนำมาเปลี่ยน Drive control micromaster 440
เป็น INDUCTION MOTOR GEAR Type. 6SE 6440 2UD21 5AA1
Type.R17DT 80 N4 R/M 1380/224 1.5 kW, 3 phase AC, 5.9 A, 380-480 V
2. ทำการถอดชุด Contactor ชุดเดิมที่ใช้ Start Motor และทำการถอดมอเตอร์ตัวเก่าออก
บริเวณที่ทำการถอด Motor Motor ตัวที่ถอดออกมา
3. ทำการติดตั้งชุด Drive Control และ Motor ตัวใหม่ เข้าไปแทนที่
4. ตรวจสอบระบบ Control เดิม
Output Q5.2
Input I 5.2
จากรูป ระบบเดิม Motor จะทำการ Start เมื่อมีสัญญาณจาก PLC (Output Q 5.2) มาสั่งหน้าสัมผัส Contact M4 ให้ทำงาน และจะมี OL 4 ซึ่งมีไว้สำหรับป้องกันการ Overload ของ Motor โดยจะส่งสัญญาณไปเข้าที่ Digital input ของ PLC (Input I 5.2)
5. ทำการแก้ไขระบบใหม่
โดยการต่อชุด Drive control micromaster 440 เข้าไปในระบบแทนหน้าสัมผัส Contact M4 โดยต่อดังนี้
- Terminal 5 (DIN1) เป็นคำสั่ง Start ต่อเข้ากับ ไฟ 24 VDC (5002)
- Terminal 6 (DIN2) เป็นคำสั่งรัน ต่อกับ Output PLC (Q 5.2)
- Terminal 9 ต่อเข้ากับ ไฟ 24 VDC (5004)
- Terminal 19 ต่อเข้ากับ Input ของ PLC ที่ I 5.2 < Alarm >
- Terminal 20 ต่อเข้ากับ ไฟ 24 VDC (5002)
6. เมื่อทำการติดตั้ง Drive และมอเตอร์เสร็จเรียบร้อยแล้วจึงทำการ Set Parameter ของ ชุด Drive Control
ค่า Parameter สำคัญ ที่ถูก Set ไว้
Parameter Value Detail
P 0304 400 Rated motor voltage = 400 V
P 0305 2.15 Rated motor current = 2.15 A
P 0307 0.75 Rated motor power = 0.75 kW
P 0310 50 Rated motor frequency = 50 Hz
P 0311 1380 Rated motor speed = 1380 min-1
P 0700 2 รับคำสั่งสัญญาณมาจาก Terminal
P 0701 2 ให้ Terminal 5 (DIN 1) เป็นคำสั่ง ON/ OFF
P 0702 16 ให้ Terminal 6 (DIN 2) เป็น Fixed set point (Direct selection + ON)
P 0731 52.0 Function of digital output 1 = 52.0 (Drive ready 0 closed)
P 1000 3 รับค่าความถี่มาจากค่าที่เรา Set ไว้ใน Fixed frequency 1-15
P 1001 0 กำหนดความถี่ Setpoint ที่ 1 (FF1) เป็น 0 Hz
P 1002 50 กำหนดความถี่ Setpoint ที่ 2 (FF2) เป็น 50 Hz
P1120 3 Ramp-up time = 3 sec
P 1121 3 Ramp-down time = 3 sec
P 1080 0 Min frequency = 0 Hz
P1082 50 Max frequency = 50 Hz
** ค่า Parameter ที่แสดง คือค่าที่ Set ไว้ใน ขณะนี้
7. ทำการทดลอง Start แล้วปรับ Speed ให้เหมาะสมกับการทำงานของเครื่อง Sheeter
การประเมินปัญหาและอุปสรรค (ที่คาดว่าอาจจะทำให้งานไม่สำเร็จ )
1. ไม่มีอุปกรณ์/อะไหล่ หรืออุปกรณ์/อะไหล่เข้ามาล่าช้า จากกระบวนการสั่งซื้อ
คณะกรรมการแข่งขันทักษะ
อนุมัติ ไม่อนุมัติ เหตุผล
ลงชื่อ
.
( )
คณะกรรมการ Mechanic
อนุมัติ ไม่อนุมัติ เหตุผล
ลงชื่อ
( )
คณะกรรมการ Electrical
อนุมัติ ไม่อนุมัติ เหตุผล
ลงชื่อ
( )
คณะกรรมการAutomation
ผู้จัดการฝ่ายผลิต
อนุมัติ ไม่อนุมัติ เหตุผล
ลงชื่อ
ผจก บริษัท
หมายเหตุ
1. คณะกรรมการแข่งขันทักษะต้องพิจารณาอนุมัติอย่างน้อย 2 ใน 3 เสียง
2. ผลการอนุมัติจาก ผจก ฝ่ายผลิต จะถือว่าผลงานได้ส่งเข้าร่วมแข่งขันโดยสมบูรณ์แล้ว
3. ผจก ฝ่ายผลิตที่อนุมัติ ต้องรับทราบค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจากการอนุมัติเรื่องดังกล่าว
4. คณะกรรมการอนุมัติของแต่ละ MEA จะต้องติดตาม ดูแล และสรุปรายงานความคืบหน้าต่อคณะทำงานแข่งขันทักษะ และ ผจก ฝ่ายผลิต ให้ทราบเป็นช่วงๆจนเสร็จโครงงาน
|
บุคคลอ้างอิง : |
ไม่เปิดเผย |
Powered by www.BuddyJob.com |